Endotine

วัสดุที่ใช้ในการดึงและยกกระชับบริเวณใบหน้า มีตำแหน่งที่ยึดหลายจุด เพื่อเพิ่มความแข็งแรงในการยกกระชับ, ยึดวัสดุเข้ากับส่วนที่แข็งแรง เช่น กระดูกหรือพังผืด, วัสดุที่ใช้ยึด ละลายได้ ภายใน 1 ปี, แรงยึดเป็นเวลา 6 เดือน, ผลิตจาก L-PGA Polymer ในอัตราส่วน 82:18

สินค้าขายดี

Lorem Ipsum is simply dummy text of the printing

สินค้าทั้งหมด

Lorem Ipsum is simply dummy text of the printing

ข่าว และบทความ

Lorem Ipsum is simply dummy text of the printing

Ptosis
Endotine | 9 ส.ค. 2564
ภาวะกล้ามเนื้อตาอ่อนแรง (Ptosis)
ภาวะกล้ามเนื้อตาอ่อนแรง (Ptosis) คือภาวะที่ลืมตาไม่สุด เปลือกตาด้านบนปิดลงมามากกว่าปกติ ทำให้เห็นตาดำไม่ครบวง ทำให้ดูตาปรือ ลืมตายาก หากเป็นกล้ามเนื้อตาอ่อนแรง 2 ข้าง จะทำให้เหมือนคนง่วงนอนตลอดเวลา ดูเหนื่อยเพลีย แต่ถ้าเป็นกล้ามเนื้ออ่อนแรงข้างเดียวจะเห็นได้ชัดว่าตาไม่เท่ากัน ตาข้างที่เป็นจะตกลงมาปิดตามากกว่า  กล้ามเนื้อตาอ่อนแรงอาจเป็นมาแต่กำเนิดอยู่แล้ว หรือเกิดขึ้นภายหลังจากการใช้ชีวิตประจำวัน เช่นการใส่คอนแทคเลนส์ หรือขยี้ตาเป็นนิสัย บางคนมีตาสองชั้นอยู่แล้ว แต่รู้สึกว่าตาไม่สวย อยากให้ตาสวยขึ้น อยากตาโต หรือคนชอบทักว่าตาดูเหนื่อย ดูง่วงนอนตลอดเวลา ตาง่วง ไม่สดใส หรือทำตาสองชั้นมาแล้ว แต่ไม่สวย ตาปรือๆ การทำตาสองชั้นโดยไม่แก้ไขกล้ามเนื้อตาอ่อนแรงจะทำให้ชั้นตาไม่เท่ากัน เนื่องจากการเปิดของตาไม่เท่ากัน ข้างที่มีปัญหากล้ามเนื้อตาอ่อนแรงจะมีชั้นตาใหญ่กว่า ยิ่งทำให้ดูต่างกันมากขึ้น ชั้นตาเป็นหลายชั้น เราสามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวพร้อมกับทำให้ดูสวยขึ้นได้ในครั้งเดียว ด้วยการทำ Endotine Transbelph เจ็บครั้งเดียว สวยไปอีกนาน ติดต่อสอบถามบริการสินค้าและได้ที่ FB: Endotine Thailand FB:https://www.facebook.com/EndotineThailand LINE :@genicon LINE Official :https://lin.ee/wabpdzo #EndotineThailand #ดึงหน้าแผลเล็กย้อนวัย #Genicon   
การผ่าตัดสรา้งภาระกับส่วนไหนของร่างกายในศัลยแพทย์ มากที่สุด
BFW | 13 ส.ค. 2564
การผ่าตัดสร้างภาระกับส่วนไหนของร่างกายในศัลยแพทย์ มากที่สุด
แพทย์สาขาที่ต้องลงไม้ลงมือ หรือ ยืนเป็นเวลานานๆ คงไม่พ้นศัลยแพทย์สาขาต่างๆ ในห้องผ่าตัด ทีต้องเคลื่อนไหวผิดท่าผิดทางอย่าง ก้ม หรือ เงย เป็นระยะเวลานาน แต่ทีนี้ การเคลื่อนไหวผิดท่าผิดทางติดกันเป็นระยะเวลานานๆ ก็จะทำให้เกิดความเสี่ยงต่อโรคต่างๆโดยเฉพาะทีเกี่ยวข้องกับกล้ามเนื้อ กระดูกและข้อ เช่นการเจ็บปวดเรื้อรังในบริเวณที่ใช้งานหนักได้ จึงมีแนวคิดศึกษาการเคลื่อนไหวของศัลยแพทย์ว่าส่วนไหนที่เป็นอันตราย (ผิดหลังสรีระศาสตร์ หรือ ergonomic) มากที่สุด โดยการติด sensor บนตัวศัลยแพทย์ เพื่อตรวจจับการเคลื่อนไหวผิดท่าที่ส่งผลต่อร่างกาย จากศัลย์แพทย์ 53 ราย จาก 11 เฉพาะทาง พบว่า 65% ของเวลาที่ศัลยแพทย์ใช้ในการผ่าตัด จะมีการเคลื่อนไหวที่สร้างภาระต่อร่างกายในระยะยาว โดยเฉพาะบริเวณหลัง และ ลำคอ ที่พบมากที่สุด #BfwHeadlight #SurgicalHeadlights #PsHospitalProduct ขอบคุณข้อมูล by Health box UN https://raynus.wordpress.com/2020/03/12/การผ่าตัดสร้างภาระกับส/?fbclid=IwAR0i_VgMr5V9gVToJX0QmzBK_HyU8qtVKO-M0NX2iNgcU25Ha6sByHnICsU